การนิเทศการศึกษาเพื่อพัฒนาการจัดประสบการณ์แบบสืบเสาะหาความรู้  ทางวิทยาศาสตร์ โตยการอบ รมเชิงปฏิบัติการและการนิเทศแบบคลินึก  สำหรับครูปฐมวัยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

วันที่โพสต์: Jun 28, 2022 8:45:3 AM

ชื่อเรื่อง  ผู้ศึกษา

ปีที่พิมพ์  การนิเทศการศึกษาเพื่อพัฒนาการจัดประสบการณ์แบบสืบเสาะหาความรู้

ทางวิทยาศาสตร์ โตยการอบ รมเชิงปฏิบัติการและการนิเทศแบบคลินึก

สำหรับครูปฐมวัยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

นางศธิทบ ไชยจันทร์ดี

2563

บทคัตย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1)/ พัฒนาครูปลมวัยสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดประสบการ บสืบเสาะหาความรู้

พื้นที่การศึกษา ทางวิทยาศาสตร์ (2) ศึกษาความหึงพอใจของครูปฐมวัยสั่งกัดสำนักงานเขอ

ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ที่มีต่อ การจัดอบรม นเซ็งปฏิบัติ ารจัดประสบการณ์แบบสืบเสาะหา

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (3) ศึกษาผ ลการนิเทศติดตาม าความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับ

ครูปรุมวัย สังกัดสำนักงานเข ตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 (4) ศึกษาทักษะทาง

วิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประ ถมศึกษามหาสารคามเขต 2 โดยใช้การ

วิจัยปฏิบัติการ (Action Researd) จำนวน 2 วงรอบ แต่ละวงรอบประกอบด้วย การวางแผน

(Planningการปฏิบัติ (Acion) การสังเกต (Observation) และการสะท้อนผล (Reflection) ไช้กล

ยุทธ์ในการพั ฒนา การ อบรมเช็งปฏิบัติการ การนิทศแบบคลินิก เป็นครูปฐมวัยกลุ่มเครือข่ายพัฒนา

คุณภาพการศึกษาที่ 5 จำนวน 12 คน กลุ่มผู้ให้ข้อมูลได้แก่ วิทยากร 1 ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มเครือข่ายหัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 5 จำนวน 12 คน และนักเรียนชั้นอนุบาล 3 จำนวน 130

คน คนเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบทดสอบความรู้ ก่อนแล ะหลังเรียนการอบรม แบบประเม็น

ความพึงพอใจการอบรมเช็งปฏิบัติการ แบบสังเกตสังเกตพฤติกรรม มของผู้เข้ารับการอบรม แบบนิเทศ

ติดตามการจัดประสบการณ์แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ แบบสังเกตทักษะทาง

วิทยาศาสตร์ข องนักเรียนชั้นปฐมวัย สถิตีที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (X)

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S. D.) และวิเคร ห์ข้อมูลเช็งคุณภาพด้วยกา รวิเคราะห์เนื้อหา (Content

Analysis) และการเขียนพรรณนาความประกอบข้อมูลเซ็งสถิติ

ผลจากการศึกษาทั้ง 2 วงรอบ ปรากฏผล ดังนี้

1. ผลการพัฒนาครูปฐวัยสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม

เขต 2 ผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ ในการจัดประสบการณ์แบบสืบเสาะหา

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์การอบรมทุกคน ก่อนการอบรมมีคะแนนรวมเฉลี่ย 14.00 คิดเป็น

ร้อยละ 46.64 ส่วนเบี่ยง งเบนมาตรฐาน 1.83 หลังจากการอบรมโดยรวมคะแนนเฉลี่ย 27.92 คิดเป็น

ร้อยละ 93.08 ส่วนเบีย เบนมาตรฐาน 1. 71 คะแนนพัฒนาการโดยรวมคิดเป็นร้อยละ 49.86 คะแนน

พัฒนาการรายบุคคลอยู่ระหว่าง 43.33 ถึง 62.07

2. ผลการสังเกตพฤติกรรมของครูปฐวัยที่เข้าการอบรมเชิงปฏิบัติการจัดประสบการณ์แบบ

สืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผู้ข้ารับการอบ รม มีความการตรงต่อเวลา ความตั้งใจในการอบรม

การมีส่วนร่วมในการอบรม การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การร่วมกิจกรรมกลุ่ม/การทำงานเป็นกลุ่ม

และ การทำงานตามใบงาน/ผลงาน ผู้เข้ารับการอบรมมีความมุ่งมั่น ความกระตือรือร้น ที่ต้องการ

พัฒนาตนเองอย่างดียิ่ง

3. ความหึงพอใจของครูครูปฐมวัยสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

มหาสารคาม เขต 2 ที่มีต่อการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดประสบการณ์แบบสืบเสาะหาความรู้ทาง

วิทยาศาสตร์ โดยรวมทุก กด้านอยู่ในระดับมากที่สุด เฉลีย 4.92 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.26

4. ผลการนิเทศติดตามแบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับครูปฐมวัยสังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยรวมครูผู้สอนระดับปฐมวัยมี กา ร

ปฏิบัติทุกข้อ ระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุดเฉลี่ย 4.66 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50

5. ผลศึกษาทึกษะทางวิทยาศาสตร์เต็กปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา

ประถมศึกษามหาสารคามเขต 2 ทักษะในการสังเกตของเด็กปฐมวัยโดยรวมพบว่า เด็กปฐมวัยมีทักษะ

ในการสังเกต ทักษะการวัด และทักษะการจำแนกอยู่ในระดับดี